Magha Puja is an important religious festival celebrated by Thai Buddhists on the full moon day of the third lunar month (this usually falls in February)
It is a public holiday in Thailand - and is an occasion when Buddhists tend to go to the temple to perform merit-making activities.
Celebration of Magha Puja Day
In the evening, each temple in Thailand holds a candle procession whereby the monks and congregation members circumambulate the main chapel or pagoda in the temple in homage to the Lord Buddha.
วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
เคล็ดลับเรียนเก่ง
1. คุมเวลาตื่นนอนให้ได้ทุกวันก่อนครับ. เช่น ตื่น 6 โมงเช้านอน 4 ทุ่ม ซัก 1 เดือนติดต่อกัน ให้ได้ก่อนค่อยมาว่าจะอ่านหนังสือครับ. เพราะจะเป็นการจัดระบบมันสมองใด้อย่างดีเยี่ยม และจะรู้สึกว่าสมองมีพลังในการรับรู้ครับ. ถ้าทำข้อนี้ไม่ได้ อย่าคิดว่าจะเรียนให้ดีได้ยากครับ.
2. หลักการอ่านหนังสือใด ๆ ไม่จำเป็นต้องอ่านทีละนาน ๆ ครับ.เช่นตั้งไว้ว่า วันนึง เราจะ อ่านซัก 1 - 2 ชม.ก็เกินพอครับ. แต่สำคัญอยู่ที่ความต่อเนื่องครับ. ถ้ายังบังคับตัวเองไม่อยู่ ข้อ 1. ก็เป็นการฝึกบังคับอย่างนึงแล้ว ต้องอ่านทุกวัน ไม่มีวันหยุดครับ.
3. ที่ว่า 1 -2 ชม.นั้นต้องรู้ว่าตัวเองเราสามารถรับได้ครั้งละเท่าไรครับ. อย่างเช่นพี่จะ อ่านวันละ 2 ชม. แต่แบ่ง เป็น 4 ยกครับ. ครั้งละ 25 - 30 นาที และพัก 5- 10 นาที
4. อ่านจบวันนึง ๆ ต้องมีสรุปแบบเล่มยาว ๆ เลยนะครับ. สรุปสั้น ๆ ว่าวันนี้ได้อะไรบ้าง สูตรอะไร ๆ หรือความเข้าใจอะไร
5. ถึงตอนนอนให้นั่งสมาธิซัก 5 นาทีพอรู้สึกใจเริ่มนิ่ง ให้นึกที่เราสรุปไว้ เมื่อกี๊ครับ. ถ้านึกไม่ออกแสดงว่าสมาธิตอนอ่านหนังสือไม่ด ีให้เปิดไฟ ลุกออกไปดูที่สรุปใหม่ แล้วนึกใหม่ครับ.
6. ต้องรู้วิธีเรียนในแต่ละวิชาครับ. เช่น คณิต + ฟิสิกส์ เน้นความเข้าใจเป็นอันดับ 1 เคมี เน้น เข้าใจ + ท่องจำบางอย่าง เช่น ตารางธาตุ ถ้าท่องยังไม่ได้แสดงว่าไม่เข้าใจว่ามันจำเป็นต้องจำ อังกฤษ เป็นเรื่องทักษะ ต้องใช้บ่อย ๆ ครับ. เวลาจะทำอะไรก็นึกเป็นภาษาอังกฤษบ้าง เช่นนึกจะทักเพื่อนว่าไปไหน ก็นึกว่า where do you go .? อะไรเป็นต้น แล้วก็ต้องเข้าใจ เป็นภาษาต่างด้าวยังมีคำหรือสำนวนที่เราไม่เข้าใจอีกเยอะ ดังนั้นเรื่องศัพท์ต้องรู้เยอะ ๆ เวลาจะไปดูหนัง Entertain กันทั้งที ก็เลือกดูเรื่องที่เขามีแต่ sub title เป็นภาษาอังกฤษ
7. วิธีเรียนพวกวิชาที่ใช้ความเข้าใจ อันดับแรกต้องรีบศึกษาเนื้อหาทั้งหมดให้จบอย่างรวดเร็วครับ. ถามว่าอ่านจากไหน อย่ามองไกลครับ. แบบเรียนนั่นล่ะ อย่าเพิ่งไปมองพวกคู่มือ ถ้าเราอ่านแบบเรียนไม่รู้เรื่อง ก็อย่าไปหวังจะดูตำราอื่นเลยครับ. จากนั้นให้รีบหา แบบฝึกหัด มาทำในแบบเรียนนั่นล่ะให้ได้หมดก่อน จากนั้นค่อย เสาะหาตำราคู่มือที่คิดว่าเราดี อ่านแล้วเข้าใจอีกซักเล่มนึงมา อ่านเนื้อหาให้หมด อีกที แล้วทำแบบฝึกหัดในเล่มนั้นให้จบหมด . สำคัญคือความตั้งใจนะครับ. ต้องเข้าใจว่าเรา มีความรู้ในบทนั้น ๆ จบแล้ว ทำไมยังทำโจทย์บางข้อไม่ได้ พยายามคิด สุดท้ายไม่ออก ก็ดูเฉลย แล้วต้องตอบตัวเอง ให้ได้ว่าเราโง่ตรงไหน ทำไมทำไม่ได้ โจทย์ข้อนั้น ๆ เป็นเทคนิคเฉพาะหรือเปล่า ต่อไป ก็เสาะหาพวกข้อสอบต่าง ๆ มาให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทำได้ แล้ว ก็ ทำ ๆ ๆ จนเกิดรู้สึกว่า บรรลุ !!! ในเรื่องนั้น ๆ มันเป็นความรู้สึกคล้าย ๆ สำเร็จเป็นผู้วิเศษอะไรทำนองนั้น หรือฝึกวิทยายุทธสำเร็จแบบนั้น มองโจทย์ปุ๊บ จะเกิดความคิด แปร๊บ ๆ ขึ้นมานึกออกทะลุหมด เมื่อนั้นรู้สึกแบบนี้เมื่อไร ให้รีบสรุปเนื้อหาบทนั้น ๆ ออกมา ในกระดาษขนาดประมาณ 2.5 นิ้ว คูณ 4 - 5 นิ้วครับ. ใช้หน้าหลังเขียนให้พอให้ได้ใน 1 บทต่อ 1 แผ่น อาจจะมียกเว้นบางบท เช่น สถิติ อาจใช้ถึง 6 แผ่น หรือตรีโกณ 3 แผ่น ส่วนใหญ่ไม่เกินหรอกครับ. จากนั้นปาตำราบทนั้น ๆ ทิ้งไปเลยครับ
.
8. สิ่งที่สำคัญที่สุดในการทำอะไรก็ตามที่คือ ต้องมีความรู้ติดสมอง สามารถหยิบมาใช้การได้ทันทีครับ. ถ้าคิดจะเรียนเพื่อสอบนั่นก็แสดงว่า กำลังคิดผิดอย่างใหญ่หลวงครับ. เด็กสมัยใหมนี้ชอบคิดว่าเรียน ๆ ไปเพื่อสอบ สอบเสร็จก็เลิก นั่นเป็นเพราะผลพวงของระบบ แข่งในการศึกษาของไทยเราครับ. เด็กต้องสอบ Entrance เข้าต่อ ทำให้ไม่เกิดความรู้สึกในการใฝ่รู้ ต้องเข้าใจว่าเราเรียนหนังสือนี่ ต้องถือว่าไม่มีใครมาบังคับเรา เราเรียนเพื่อตัวเราเอง เพื่อพัมนาสมองเราเอง พัฒนา มุมมองความคิดต่าง ๆ เพื่อให้เราเป็นยอดคนเอง สามารถที่จะพึ่งตัวเองได้ทุกเมื่อ ไม่ว่าจะยังอยู่ในความดูแลของผู้ปกครองหรือหลุดจากอ้อมแขน บิดามารดาเมื่อไร ต้องสามารถที่จะกล้าคิดและทำ พึ่งตัวเอง ยังชีพตัวองในสังคมนี้ได้ครับ.
ดังนั้น จากข้อ 7.เราต้องบันทึกความรู้ที่เรารู้แล้ว ให้เป็นความรู้ยาวนานติดสมอง โดยทำดังต่อไปนี้ครับ. - ให้นึก ! โน๊ตย่อที่เราสรุปเอง อาทิตย์ละหน ติดต่อกัน ซัก 1 เดือนหรือ 4 อาทิตย์นึกนะครับ . ไม่ใช่เปิดดูถ้านึกไม่ออก แสดงว่าไม่ได้สรุปเองแล้วล่ะเปิดหนังสือ แล้วสรุปตามแหง ๆ จากนั้นให้ทิ้งห่างเป็น นึก 1 เดือนต่อครั้ง จนเริ่มรู้สึกเบื่อ เพราะนึกทะลุปรุโปร่งหมดแล้วให้เลิกครับ. ใกล้สอบค่อยว่ากันอีกที กระบวนการที่ว่านึกตั้งแต่ 1 อาทิตยืจนเลิกนึกนี่ คาดว่าไม่ตำกว่า 3 เดือนนะครับ. ใครน้อยกว่านี้ แสดงว่าโกหกตัวเองชัวร์
9. กระบวนการสุดท้าย เป็นการเพิ่มพลังความมั่นใจในตัวเองซึ่งต้องกระทำติดต่อกันบ่อยๆ เรื่อย คือกระบวนการสอบแข่งขันครับ. ตรงนี้สำคัญมาก ถ้าเป็นไปได้สอบแข่งซะแต่ ม.1 จนจบ ม.6 เลย จะทำให้เรารู้อันดับตัวเอง เมื่อเทียบกับคนอื่น ๆ ครับ. เช่นเราอาจจะเรียนได้เกรดดี แต่พอสอบแข่ง จริง ๆล่ะ สู้เขาได้ใหม ทักษะในการทำข้อสอบ มีใหม เข้าห้องก็เดินหน้าลุยทำแต่ข้อแรกยันข้อสุดท้ายเลยหรือเปล่า ก็พวก สมาคม โอลิมปิก หรืออะไรก็ตามที ทั้งสอบแข่งในโรงเรียน เช่น โรงเรียนจัดเอง หรือสัปดาห์ต่าง เช่น สัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ โคงงงานวิทยาศาตร์ ตอบปัญหาภาษาไทย อังกฤษ ฯลฯ สุดท้ายทั้งหมดที่ว่ามา ถ้าน้องคนไหนทำได้นะครับ. ซัก 1 - 2 ปี รู้ผลแน่ พี่รับรองได้ 100 % เลยว่าอย่างน้อยต้องอยู่ในอันดับ 1 - 3 ของชั้น แน่นอน อันดับระดับประเทศ ก็ไม่เกิน 50 อย่างมาก อ้อ ลืมบอกไปครับ. สิ่งสำคัญคือการอ่านล่วงหน้าครับ. ช่วงปิดเทอม ก็อ่านของเทอมหน้านู้นหรือ อยู่ ม.4 จะอ่านของ ม.6 ก็ได้นะไม่ผิด
เนื้อหาจาก www.mathcenter.net
2. หลักการอ่านหนังสือใด ๆ ไม่จำเป็นต้องอ่านทีละนาน ๆ ครับ.เช่นตั้งไว้ว่า วันนึง เราจะ อ่านซัก 1 - 2 ชม.ก็เกินพอครับ. แต่สำคัญอยู่ที่ความต่อเนื่องครับ. ถ้ายังบังคับตัวเองไม่อยู่ ข้อ 1. ก็เป็นการฝึกบังคับอย่างนึงแล้ว ต้องอ่านทุกวัน ไม่มีวันหยุดครับ.
3. ที่ว่า 1 -2 ชม.นั้นต้องรู้ว่าตัวเองเราสามารถรับได้ครั้งละเท่าไรครับ. อย่างเช่นพี่จะ อ่านวันละ 2 ชม. แต่แบ่ง เป็น 4 ยกครับ. ครั้งละ 25 - 30 นาที และพัก 5- 10 นาที
4. อ่านจบวันนึง ๆ ต้องมีสรุปแบบเล่มยาว ๆ เลยนะครับ. สรุปสั้น ๆ ว่าวันนี้ได้อะไรบ้าง สูตรอะไร ๆ หรือความเข้าใจอะไร
5. ถึงตอนนอนให้นั่งสมาธิซัก 5 นาทีพอรู้สึกใจเริ่มนิ่ง ให้นึกที่เราสรุปไว้ เมื่อกี๊ครับ. ถ้านึกไม่ออกแสดงว่าสมาธิตอนอ่านหนังสือไม่ด ีให้เปิดไฟ ลุกออกไปดูที่สรุปใหม่ แล้วนึกใหม่ครับ.
6. ต้องรู้วิธีเรียนในแต่ละวิชาครับ. เช่น คณิต + ฟิสิกส์ เน้นความเข้าใจเป็นอันดับ 1 เคมี เน้น เข้าใจ + ท่องจำบางอย่าง เช่น ตารางธาตุ ถ้าท่องยังไม่ได้แสดงว่าไม่เข้าใจว่ามันจำเป็นต้องจำ อังกฤษ เป็นเรื่องทักษะ ต้องใช้บ่อย ๆ ครับ. เวลาจะทำอะไรก็นึกเป็นภาษาอังกฤษบ้าง เช่นนึกจะทักเพื่อนว่าไปไหน ก็นึกว่า where do you go .? อะไรเป็นต้น แล้วก็ต้องเข้าใจ เป็นภาษาต่างด้าวยังมีคำหรือสำนวนที่เราไม่เข้าใจอีกเยอะ ดังนั้นเรื่องศัพท์ต้องรู้เยอะ ๆ เวลาจะไปดูหนัง Entertain กันทั้งที ก็เลือกดูเรื่องที่เขามีแต่ sub title เป็นภาษาอังกฤษ
7. วิธีเรียนพวกวิชาที่ใช้ความเข้าใจ อันดับแรกต้องรีบศึกษาเนื้อหาทั้งหมดให้จบอย่างรวดเร็วครับ. ถามว่าอ่านจากไหน อย่ามองไกลครับ. แบบเรียนนั่นล่ะ อย่าเพิ่งไปมองพวกคู่มือ ถ้าเราอ่านแบบเรียนไม่รู้เรื่อง ก็อย่าไปหวังจะดูตำราอื่นเลยครับ. จากนั้นให้รีบหา แบบฝึกหัด มาทำในแบบเรียนนั่นล่ะให้ได้หมดก่อน จากนั้นค่อย เสาะหาตำราคู่มือที่คิดว่าเราดี อ่านแล้วเข้าใจอีกซักเล่มนึงมา อ่านเนื้อหาให้หมด อีกที แล้วทำแบบฝึกหัดในเล่มนั้นให้จบหมด . สำคัญคือความตั้งใจนะครับ. ต้องเข้าใจว่าเรา มีความรู้ในบทนั้น ๆ จบแล้ว ทำไมยังทำโจทย์บางข้อไม่ได้ พยายามคิด สุดท้ายไม่ออก ก็ดูเฉลย แล้วต้องตอบตัวเอง ให้ได้ว่าเราโง่ตรงไหน ทำไมทำไม่ได้ โจทย์ข้อนั้น ๆ เป็นเทคนิคเฉพาะหรือเปล่า ต่อไป ก็เสาะหาพวกข้อสอบต่าง ๆ มาให้เยอะที่สุดเท่าที่จะทำได้ แล้ว ก็ ทำ ๆ ๆ จนเกิดรู้สึกว่า บรรลุ !!! ในเรื่องนั้น ๆ มันเป็นความรู้สึกคล้าย ๆ สำเร็จเป็นผู้วิเศษอะไรทำนองนั้น หรือฝึกวิทยายุทธสำเร็จแบบนั้น มองโจทย์ปุ๊บ จะเกิดความคิด แปร๊บ ๆ ขึ้นมานึกออกทะลุหมด เมื่อนั้นรู้สึกแบบนี้เมื่อไร ให้รีบสรุปเนื้อหาบทนั้น ๆ ออกมา ในกระดาษขนาดประมาณ 2.5 นิ้ว คูณ 4 - 5 นิ้วครับ. ใช้หน้าหลังเขียนให้พอให้ได้ใน 1 บทต่อ 1 แผ่น อาจจะมียกเว้นบางบท เช่น สถิติ อาจใช้ถึง 6 แผ่น หรือตรีโกณ 3 แผ่น ส่วนใหญ่ไม่เกินหรอกครับ. จากนั้นปาตำราบทนั้น ๆ ทิ้งไปเลยครับ
.
8. สิ่งที่สำคัญที่สุดในการทำอะไรก็ตามที่คือ ต้องมีความรู้ติดสมอง สามารถหยิบมาใช้การได้ทันทีครับ. ถ้าคิดจะเรียนเพื่อสอบนั่นก็แสดงว่า กำลังคิดผิดอย่างใหญ่หลวงครับ. เด็กสมัยใหมนี้ชอบคิดว่าเรียน ๆ ไปเพื่อสอบ สอบเสร็จก็เลิก นั่นเป็นเพราะผลพวงของระบบ แข่งในการศึกษาของไทยเราครับ. เด็กต้องสอบ Entrance เข้าต่อ ทำให้ไม่เกิดความรู้สึกในการใฝ่รู้ ต้องเข้าใจว่าเราเรียนหนังสือนี่ ต้องถือว่าไม่มีใครมาบังคับเรา เราเรียนเพื่อตัวเราเอง เพื่อพัมนาสมองเราเอง พัฒนา มุมมองความคิดต่าง ๆ เพื่อให้เราเป็นยอดคนเอง สามารถที่จะพึ่งตัวเองได้ทุกเมื่อ ไม่ว่าจะยังอยู่ในความดูแลของผู้ปกครองหรือหลุดจากอ้อมแขน บิดามารดาเมื่อไร ต้องสามารถที่จะกล้าคิดและทำ พึ่งตัวเอง ยังชีพตัวองในสังคมนี้ได้ครับ.
ดังนั้น จากข้อ 7.เราต้องบันทึกความรู้ที่เรารู้แล้ว ให้เป็นความรู้ยาวนานติดสมอง โดยทำดังต่อไปนี้ครับ. - ให้นึก ! โน๊ตย่อที่เราสรุปเอง อาทิตย์ละหน ติดต่อกัน ซัก 1 เดือนหรือ 4 อาทิตย์นึกนะครับ . ไม่ใช่เปิดดูถ้านึกไม่ออก แสดงว่าไม่ได้สรุปเองแล้วล่ะเปิดหนังสือ แล้วสรุปตามแหง ๆ จากนั้นให้ทิ้งห่างเป็น นึก 1 เดือนต่อครั้ง จนเริ่มรู้สึกเบื่อ เพราะนึกทะลุปรุโปร่งหมดแล้วให้เลิกครับ. ใกล้สอบค่อยว่ากันอีกที กระบวนการที่ว่านึกตั้งแต่ 1 อาทิตยืจนเลิกนึกนี่ คาดว่าไม่ตำกว่า 3 เดือนนะครับ. ใครน้อยกว่านี้ แสดงว่าโกหกตัวเองชัวร์
9. กระบวนการสุดท้าย เป็นการเพิ่มพลังความมั่นใจในตัวเองซึ่งต้องกระทำติดต่อกันบ่อยๆ เรื่อย คือกระบวนการสอบแข่งขันครับ. ตรงนี้สำคัญมาก ถ้าเป็นไปได้สอบแข่งซะแต่ ม.1 จนจบ ม.6 เลย จะทำให้เรารู้อันดับตัวเอง เมื่อเทียบกับคนอื่น ๆ ครับ. เช่นเราอาจจะเรียนได้เกรดดี แต่พอสอบแข่ง จริง ๆล่ะ สู้เขาได้ใหม ทักษะในการทำข้อสอบ มีใหม เข้าห้องก็เดินหน้าลุยทำแต่ข้อแรกยันข้อสุดท้ายเลยหรือเปล่า ก็พวก สมาคม โอลิมปิก หรืออะไรก็ตามที ทั้งสอบแข่งในโรงเรียน เช่น โรงเรียนจัดเอง หรือสัปดาห์ต่าง เช่น สัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ โคงงงานวิทยาศาตร์ ตอบปัญหาภาษาไทย อังกฤษ ฯลฯ สุดท้ายทั้งหมดที่ว่ามา ถ้าน้องคนไหนทำได้นะครับ. ซัก 1 - 2 ปี รู้ผลแน่ พี่รับรองได้ 100 % เลยว่าอย่างน้อยต้องอยู่ในอันดับ 1 - 3 ของชั้น แน่นอน อันดับระดับประเทศ ก็ไม่เกิน 50 อย่างมาก อ้อ ลืมบอกไปครับ. สิ่งสำคัญคือการอ่านล่วงหน้าครับ. ช่วงปิดเทอม ก็อ่านของเทอมหน้านู้นหรือ อยู่ ม.4 จะอ่านของ ม.6 ก็ได้นะไม่ผิด
เนื้อหาจาก www.mathcenter.net
วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
ใครว่าเรื่องนี้ มศว ไม่ยุทติธรรมบ้าง ??
น.ส.จรินทร์พร จุนเกียรติ(เต้ย) ดาราวัยรุ่นชื่อดัง
ใครที่ผ่านข้อเขียน คณะศิลปกรรมศาตร์สาขาการแสดงฯ มศว
คงจะได้เข้าไปดูรายชื่อของคนที่ผ่านกันใช่มั้ย ?ซึ่งความจิงแล้วคนที่ผ่านข้อเขียน มี 147
คนซึ่งเราอะผ่านข้อเขียนมา แล้วเราก้อได้ดูรายชื่อของคนที่ผ่านทั้งหมด 147 คน
แล้วเราก้อได้ยินมาว่า เต้ย(จรินทร์พร)อะไปสอบ
เราก้อเลยลองใส่ชื่อเต้ยดูปรากดว่าเต้ยไม่ผ่านข้อเขียน เราก้อไม่แน่ใจ
เราเลยไปดูรายชื่อรวม 147 คนไล่ดูทุกชื่อ ก้อไม่มีชื่อเต้ย
แล้วพอมาวันนี้ มศว ประกาดคนผ่านสัมพาด
ซึ่งเราไม่ติด เราก้อไม่ได้เคีรยดไรหรอกนะแต่พอมาดูรายชื่อคนที่ผ่านสัมพาด
ดันมีชื่อ เต้ย จรินทร์พร จุนเกรียรติ ( อ้าว )มาได้ไงงะ ชื่อนี้
เต้ยไม่ผ่านสอบข้อเขียนไม่ช่ายหรอ แล้วไหงมีชื่อเต้ยขึ้นมาว่าผ่านสัมพาดอะอ้าว งงเลย !!!!!
แบบว่า ..... ไม่ผ่านข้อเขียน แล้ว เต้ยผ่านสอบสัมพาดได้ไงคราวนี้
เพื่อนเราก้อเลยกลับไปดู รายชื่อคนที่ผ่านข้อเขียนอันเดิม(ที่ไม่มีชื่อเต้ย)ซึ่งความเปนจริงแล้วมีคนผ่านข้อเขียน 147 คน
แล้วพอมาดูอีกทีวันนี้เมื่อกี๊ กลับมีคนผ่านเพิ่ม มาเปน 151 คน
ซึ่งกลายเปนว่ามีชื่อเต้ยเพิ่มเข้ามาด้วยแล้วแบบนี้มันหมายความว่าไง
แล้วอีก 3 คนที่เพิ่มเข้ามางะ คืออะไรแบบนี้เค้าเรียกว่าเส้นช่ายปะ ?
คือไม่ได้ติดใจอะไร ที่เราไม่ติดอะ แต่ มศว และเหล่าคนเส้นเนี่ย
ไม่น่าทำแบบนี้นะคะมันเสียความรุ้สึกของคนที่เค้าอยากจะสอบ
อยากจะเรียนอะเหอะ ๆๆๆอะนะ เสียความรู้สึกมาก
ไม่ยุทติธรรมเลยจริงๆ -_-
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)