วันจันทร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2551

วันจันทร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2551

โอ-เน็ต

โอ-เน็ต (O-NET), เอ-เน็ต (A-NET), และ บี-เน็ต (B-NET) คือรูปแบบมาตรฐานการทดสอบความรู้ในระดับต่างๆ ของนักเรียนที่ดำเนินการโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรมหาชนและใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า “National Institute of Educational Testing Service”

ระดับและวัตถุประสงค์ของการสอบ
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ได้กำหนดมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ ตามวัตถุประสงค์ดังนี้

โอ-เน็ต (O-NET)
การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Testing) หรือที่เรียกว่า O-NET เป็นการสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน) ของชั้น ป. 3 ม. 3 และ ม. 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยทำการทดสอบความรู้ในกลุ่มสาระต่างๆ รวม 8 กลุ่ม
ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้กำลังจะจบชั้น ป. 3, ป. 6, ม. 3 และ ม. 6 เป็นการสอบออก
ช่วงเวลาสอบและจำนวนครั้งการสอบ เดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม ของทุกปี เป็นการสอบประจำปีอย่างถาวรตลอดไปและเป็นการสอบเพียง 1 ครั้งสำหรับผู้กำลังจะจบช่วงชั้นเท่านั้น
วิธีการสอบและค่าใช้จ่าย ผู้เป็นนักเรียนปกติไม่ต้องสมัครสอบ แต่นักเรียนเทียบเท่าต้องสมัครสอบ ไม่มีการเสียค่าใช้จ่ายในการสอบ
ผู้จัดสอบ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)

เอ-เน็ต (A-NET)
การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง (Advance National Education Testing) หรือที่เรียกว่า A-NET ย่อมาจากชื่อภาษาอังกฤษว่า “” เป็นการสอบความรู้ขั้นสูง (6 ภาคเรียน) ทดสอบเฉพาะนักเรียนชั้น ม. 6 ที่ประสงค์จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐในระบบรับร่วมและรับกลาง จำนวนวิชาสอบ 11 วิชา
ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้กำลังเรียนหรือผู้จบชั้น ม. 6 ปกติหรือเทียบเท่าไปแล้ว
ช่วงเวลาสอบและจำนวนครั้งการสอบ การทดสอบแบบนี้จะมีเพียงปีละ 1 ครั้งเท่านั้นคือเดือนมีนาคม ของทุกปี และสามารถเก็บคะแนนที่สอบไว้ได้ 2 ปี โดยใช้คะแนนที่ดีที่สุด การสอบจะมีเฉพาะช่วงรอยต่อของระบบเก่าและใหม่คือระหว่างช่วง พ.ศ. 2549 -2552 เท่านั้น
วิธีการสอบและค่าใช้จ่าย ผู้เข้าทดสอบต้องสมัครสอบและเสียค่าใช้จ่ายในการสอบวิชาละ 100 บาท
ผู้จัดสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

บี-เน็ต (B-NET)
B-NET ย่อมาจากชื่อภาษาอังกฤษว่า “Basic National Education Testing” เป็นการสอบความรู้ขั้นสูง (5 ภาคเรียน) เฉพาะนักเรียน ม. 6 ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐในระบบรับตรง ระบบโควต้า และระบบพิเศษ โดยมีวิชาสอบ 5 วิชา
ผู้มีสิทธิ์สอบ ผู้กำลังเรียนหรือผู้จบชั้น ม. 6 ปกติหรือเทียบเท่าไปแล้ว
ช่วงเวลาสอบและจำนวนครั้งการสอบ การทดสอบแบบนี้จะเริ่มมีการสอบครั้งแรกในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 สำหรับมหาวิทยาลัยนเรศวรและบางโครงการของจุฬาลงกาสรณ์มหาวิทยาลัย สามารถเก็บคะแนนที่สอบไว้ได้ 2 ปี
วิธีการสอบและค่าใช้จ่าย ผู้เข้าทดสอบต้องสมัครสอบ และเสียค่าใช้จ่ายในการสอบวิชาละ 100 บาท
ผู้จัดสอบ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การสอบ โอ-เน็ต (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ได้แบ่งกลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้การสอบออกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไว้ 8 กลุ่มสาระ ได้แก่ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8) ภาษาต่างประเทศ โดยในแต่ละกลุ่มสาระจะมีมาตรฐานไว้ชัดเจน

วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2551

Café


Le mot café désigne les graines du caféier,unarbuste du genre Coffea, et une boisson psychoactive obtenue à partir de ces graines. Il désigne aussi son lieu de consommation, le café ou bar ou bistro.
La culture du café est très développée dans de nombreux pays tropicaux, dans des plantations qui cultivent pour les marchés d'exportation. Le café est une des principales denrées d'origine agricole échangées sur les marchés internationaux, et souvent une contribution majeure aux exportations des régions productrices.





วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551

Kate Chopin

Kate Chopin (née Kate O'Flaherty à Saint-Louis (Missouri) le 8 février 1850, décédée à Saint-Louis le 22 août 1904) est une écrivaine américaine. Elle est l'auteur de nombreuses nouvelles et de deux romans connus pour leur ambiance teintée de culture créole, mais son œuvre est surtout réputée pour être annonciatrice des auteurs féministes du XXe siècle.

Carrière d'écrivain

A la fin des année 1890, Kate écrivait des nouvelles, des articles et des traductions des œuvres de Alphonse Daudet et Guy de Maupassant publiés dans des magazines, notamment le Saint Louis Dispatch. Elle était alors classée dans les écrivains régionalistes, mais les qualités littéraires de son œuvre n'était pas reconnues.
En 1899 paru son second roman,
L'éveil. Dès sa sortie, il fut critiqué pour son atteinte aux interdits moraux de l'époque concernant la sexualité féminine et ne fut plus réédité pendant plusieurs décennies. Il est aujourd'hui reconnu comme un roman précurseur des œuvres féministes du XXe siècle. L'éveil est parfois considéré comme le Madame Bovary américain. Il est connu du public français pour avoir été publié sous le titre Edna (du nom de l'héroïne principale) et dans une traduction de Cyrille Arnavon par le Club bibliophile de France au début des années 1950.
Kate fut découragée par l'accueil de son roman et se contenta par la suite d'écrire des nouvelles. En 1900, elle écrivit la nouvelle The Gentleman from New Orleans et son nom apparaît la même année dans la première édition du Marquis Who's Who. Malgré le succès de ses nouvelles, elle n'a jamais pu vivre de son art et tirait ses revenus de rentes d'investissements faits en Louisiane et à Saint-Louis.
Elle mourut en 1904 à l'âge de 54 ans des suites d'une hémorragie cérébrale. Elle est enterrée à Saint-Louis et est inscrite au St. Louis Walk of Fame.


Carrière d'écrivain=Career of writer

nombreuses=many

investissements=investments